ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

โตโยต้า วีออส

โตโยต้า วีออส (อังกฤษ: Toyota Vios) เป็นรถรุ่นตระกูลที่โตโยต้า ออกแบบมาเพื่อมาแทนที่รถรุ่นโซลูน่า (Soluna) เริ่มผลิตรุ่นแรกใน พ.ศ. 2545 โดยจัดเป็นรถขนาดเล็กมาก (Subcompact Car) โดยทั่วไปจะนิยมนำรถวีออสไปใช้งานเป็นรถยนต์ส่วนตัว แต่มีการนำไปใช้เป็นรถแท็กซี่ในบางประเทศ เช่นในอินโดนีเซีย จะมีรถวีออสสำหรับทำเป็นแท็กซี่จำหน่ายในชื่อ "โตโยต้า ลิโม" (ต่างจากในประเทศไทย ที่รถโตโยต้า ลิโม คือรุ่นโคโรลล่าที่มีการตัด Option ต่างๆ ออก เพื่อให้รถมีราคาถูก เหมาะกับการซื้อไปเป็นแท็กซี่เช่า) และมีการนำไปปรับแต่งและใช้เป็นรถแข่ง

วีออส เป็นคู่แข่งทางธุรกิจกับรถยนต์หลายรุ่น ที่สำคัญๆ คือ ฮอนด้า ซิตี้, เชฟโรเลต อาวีโอ ด้วยความที่ถูกออกแบบมาให้เป็นรถส่วนบุคคลขนาดเล็กราคาถูกเหมือนกัน

โตโยต้า วีออส โฉมแรกนี้ ผลิตในประเทศไทยที่ โรงงานโตโยต้าเกตเวย์ จังหวัดฉะเชิงเทรา โรงงานในประเทศฟิลิปปินส์ และในประเทศจีน โดยส่งออกไปขายยัง อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, บรูไน, สิงคโปร์ และไต้หวัน โดยรถวีออสโฉมที่ 1 ในประเทศเหล่านี้จะใช้เครื่องยนต์ 1NZ-FE ความจุ 1.5 ลิตร สำหรับรถวีออสโฉมนี้ในประเทศฟิลิปปินส์จะใช้เครื่องยนต์ 2NZ-FE ความจุ 1.3 ลิตร ส่วนรถวีออสโฉมนี้ในประเทศจีนจะใช้เครื่องยนต์แบบ 8A-FE โดยโฉมแรกนี้ เริ่มขายในประเทศไทยอย่างเป็นทางการเมื่อช่วงต้นปี พ.ศ. 2546

มีตัวถังแบบเดียว คือ แบบซีดาน 4 ประตู โดยในระยะแรกในประเทศไทยจะจำหน่ายในชื่อ โตโยต้า โซลูน่า วีออส (Toyota Soluna Vios) เพื่อแสดงว่าเป็นโฉมใหม่ของโตโยต้า โซลูน่า ต่อมาจึงได้ยกเลิกชื่อโซลูน่า เพื่อทำการตลาดในชื่อรุ่นชื่อใหม่ คือ "วีออส"

โตโยต้า วีออส โฉมแรกนี้ เคยมีการผลิตและจำหน่ายรุ่นพิเศษ คือโตโยต้า วีออส เทอร์โบ (อังกฤษ: Toyota Vios Turbo) โดยมีการจัดทำรถรุ่นนี้ขึ้นในจำนวน 600 คัน และจำหน่ายเฉพาะในประเทศไทย โดยรุ่นพิเศษนี้ ยังคงเป็นเครื่องยนต์ 1.5 ลิตรแบบเดิม แต่มีการติดตั้งเทอร์โบ และระบบอินเตอร์คูลเลอร์โดยสำนักแต่งรถ TRD หรือ Toyota Racing Development ซึ่งเป็นสำนักแต่งรถที่ขึ้นกับโตโยต้า ประเทศญี่ปุ่นโดยตรง ทำให้มีแรงม้าเพิ่มขึ้นเป็น 143 แรงม้า นอกจากนี้ยังได้เพิ่มอุปกรณ์ตกแต่งตัวรถ ทำให้ดูแตกต่างไปจากรุ่นปกติ

โฉมที่สองของวีออสเปิดตัวครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น ในปี 2549 โดยใช้ชื่อว่า "โตโยต้า เบลต้า" และเปิดตัวในตลาดอเมริกาเหนือ/ ตะวันออกกลาง / อเมริกาใต้ / ลาตินอเมริกา / ออสเตรเลีย ช่วงต้นปี 2550 โดยใช้ชื่อ "โตโยต้า ยาริส ซีดาน" ส่วนในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้ชื่อว่า "โตโยต้า วีออส" เปิดตัวในประเทศไทยครั้งแรกวันที่ 8 และ 9 มีนาคม พ.ศ. 2550 ที่สยามพารากอน

นอกเหนือจากการใช้เป็นรถยนต์ส่วนบุคคลแล้ว ยังมีการนำไปปรับแต่งและใช้เป็นรถแข่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการแข่งขัน โตโยต้า วีออส วันเมคเรซ ซึ่งเป็นการแข่งรถในประเทศไทยที่ทางโตโยต้าจัดขึ้น

รุ่น Vios One Make Race Lady Cup ชัชฎาภรณ์ ธนันทา , สุคนธวา เกิดนิมิตร , หนูอิมอิม ก้าวมหัศาจรรย์ , ภัทรธิดา พัชรวีระพงษ์ , นาตาลี เดวิส , แอริณ ยุกตะทัต , อารยา เอ ฮาร์เก็ต

กลางปี 2551 - ต้นปี 2553 มีการเพิ่มรุ่น J มาตรฐาน และเปลื่ยนแปลงและลดอุปกรณ์บางอย่างในรุ่นปกติ เช่น

ในปี 2553 ในเมืองไทยมีการปรับโฉม 3 รุ่นมาตรฐาน โดยองค์ประกอบภายนอกทุกรุ่นได้เปลื่ยนแปลงกระจังหน้าและชุดไฟท้าย รวมถึงออกแบบมือจับฝากระโปรงท้ายใหม่ ส่วนภายในห้องโดยสารการเปลี่ยนแปลงคือ

ต่อมาในช่วงปลายปี 2012 ได้มีการปรับอุปกรณ์อีกครั้ง โดยให้มีแอร์แบคคู่หน้าในทุกรุ่นย่อย ไฟหน้ารมดำในทุกรุ่นย่อย กลับมาใช้พวงมาลัยทรงเดียวกับปี 2007 (แต่รุ่น G และ G Ltd. ยังคงสเปคเดิมคือพวงมาลัยทรงสปอร์ต) และสำหรับรุ่นที่มีล้อแม็กซ์ จะเป็นแม็กซ์ขนาด 15 นิ้วรมดำให้ความสปอร์ตมากขึ้น

โฉมที่ 3 ของวีออสเปิดตัวครั้งแรกของโลกที่ประเทศไทยเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2556 โดยมีสโลว์แกนว่า Have It All โดยรุ่นนี้เป็นรุ่นที่ได้รับการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดจากรุ่นที่ 2 แต่ยังคงใช้เครื่องยนต์ 1 NZ-FE 1.5 ลิตร 109 แรงม้า และแรงบิด 14.4 กก.ม เหมือนรุ่นแรก พร้อมทั้งมีพรีเซนเตอร์คนใหม่ จิรายุ ตั้งศรีสุข และ จรินทร์พร จุนเกียรติ. มีให้เลือกทั้งหมด 7 สีซึ่งได้แก่ 1.สีขาว 2.สีเบจ 3.สีเงิน 4.สีดำ 5.สีน้ำตาล 6.สีเทา 7.สีแดง โดยมีให้เลือก 4 รุ่นดังนี้

ทุกแบบใช้เครื่องยนต์ 1 NZ-FE 1.5 ลิตร 109 แรงม้า และแรงบิด 14.4 กก.ม เหมือนรุ่นเดิม โดยเปลื่ยนระบบคันเร่งจากเดิมที่ควบคุมด้วยสายเคเบิลมาเป็นระบบไฟฟ้า DBW หรือ Drive - By -Wire เรียกว่า ETCS-i โดยทำงานร่วมกับระบบ Canbus และระบบตรวจสอบข้อบกพร่อง OBD-II

ระบบจ่ายเชี้อเพลิงควบคุมโดยกล่อง ECU ขนาด 32 Bit ติดตั้งอยู่บริเวณห้องเครื่อง พวงมาลัยเพาเวอร์ไฟฟ้า EPS แรงดันมอเตอร์ไฟฟ้ากำลังขับ 42 โวลต์ สามารถปรับความหนัก - เบา ตามความเร็วรถยนต์ และเปลื่ยนมาใช้เกียร์อัตโนมัติแบบร่องหยัก ซึ่งเป็นลูกเดียวกับ Corolla ALTIS ตัวถัง 1.8 ทั้งเก่าและใหม่ (รหัสเกียร์ U340E)โดยใช้ชื่อว่า SuperECT มีระบบ Hill Sensing Control สำหรับการปีนป่ายขึ้นที่สูงและลงทางลาดชันได้อย่างไร้กังวล ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อหามุมองศาของการปีนป่ายที่สูงและลงทางชัน ระบบคอมพิวเตอร์จะป้องกันไม่ให้เปลี่ยนไปที่เกียร์สูงสุดโดยไม่จำเป็น หรือไม่ลดลงไปเกียร์ต่ำสุดเพื่อป้องกันการลื่นไถลของล้อกรณีปีนป่ายที่สูงและไม่ลาดชันจนเกินไป และในขาลง ก็จะคงที่ไว้ที่เกียร์สามเพื่อการขับขี่ที่มั่นคง และเบรกอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเรียนรู้การขับขี่ในแต่ละสภาพถนน เพื่อปรับเปลื่ยนจังหวะเกียร์ให้ขับเคลื่อนอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

อีกทั้งยังติดตั้งระบบ Auto-Start โดยผู้ขับขี่สามารถติดเครื่องยนต์โดยบิดกุญแจไปที่ตำแหน่ง Start แล้วปล่อยมือได้ทันที (หรือ กดปุ่ม Start แล้วปล่อยมือทันที ในรุ่น S) ระบบจะทำการติดเครื่องด้วยตัวเอง โดยไม่จำเป็นต้องบิดกุญแจค้างไว้ หรือกดปุ่มค้างจนเครื่องยนต์ติด

ระบบเครื่องเสียงในวีออสใหม่ทุกรุ่น มาพร้อมกับระบบ ASL หรือ Auto Sound-Speed Levelizer ปรับระดับเสียงขึ้น-ลง โดยอัตโนมัติตามความเร็วรถ และสามารถปรับได้สามระดับคือ Low Mid และ High

ระบบกระจายแรงเบรก EBD (Electronic Brake-Force Distribution)จะช่วยกระจายแรงดันน้ำมันเบรกโดยแปรผันตามน้ำหนักที่กดลงในแต่ละล้อและควบคุมแรงเบรกขณะเข้าโค้งอย่างอิสระ ช่วยเสริมประสิทธิภาพการเบรกให้มีความสมดุล ป้องกันการไถลของล้อขณะเข้าโค้งและเหยียบเบรกกะทันหัน

ในกรณีบรรทุกเต็มพิกัด ระบบ EBD จะเพิ่มแรงดันน้ำมันเบรกที่ล้อคู่หลังเพื่อเสริมประสิทธิภาพการหยุดให้สูงที่สุด ช่วยลดภาระของชุดเบรกหน้า

ระบบเสริมแรงเบรก BA (Brake Assist)ในกรณีเบรกแบบกะทันหัน ระบบ BA จะช่วยเพิ่มแรงเบรกในระบบ โดยคอมพิวเตอร์จะอ่านค่าจากการเหยียบของผู้ขับว่ามีแรงกระทำมากและนานเท่าไร ช่วยเสริมการหยุดรถได้ในระยะที่สั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ดิสก์เบรกล้อหน้าแบบมีช่องระบายความร้อนหยุดรถอย่างมั่นใจมากขึ้น ช่วยป้องกันความร้อนสะสมขณะใช้เบรกอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน

โครงสร้างตัวถังนิรภัย GOA พัฒนาการล่าสุดของโครงสร้างตัวถังนิรภัย GOA ที่ให้ความปลอดภัยมาตรฐานระดับโลกด้วยโครงสร้างห้องโดยสารที่แข็งแกร่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับแรงกระแทกจากการชน ให้ถ่ายเทไปสู่ส่วนต่างๆของตัวถัง เพื่อให้เกิดความเสียหายต่อห้องโดยสารน้อยที่สุด โดยระบบดูดซับแรงกระแทกที่สามารถดูดซับแรงกระแทกลดความรุนแรงจากการชนด้วยการกระจายแรงสู่ตัวถัง พร้อมคานนิรภัยด้านหน้าและด้านข้างเพิ่มความแข็งแกร่ง และความปลอดภัยให้กับห้องโดยสารเมื่อเกิดการชน

ระบบลดแรงกระแทกศีรษะด้านข้าง ออกแบบเพื่อช่วยลดแรงกระแทกที่ศีรษะของผู้ขับขี่และผู้โดยสาร

ถุงลมนิรภัยคู่หน้า SRS ปกป้องทั้งผู้ขับขี่และผู้โดยสาร ช่วยลดการบาดเจ็บของศีรษะและหน้าอก จากแรงปะทะซึ่งเกิดจากการชนด้านหน้า

เข็มขัดนิรภัยคู่หน้าพร้อมระบบกลไกดึงกลับ และผ่อนแรงดึงอัตโนมัติ (Pretensioner & Force Limiter) ช่วยรั้งร่างกายผู้ขับขี่และผู้โดยสารให้แนบกับเบาะเมื่อเกิดการชน ป้องกันการบาดเจ็บจากแรงกระแทก

ไม่มี ABS/EBD/BA ล้ออัลลอย 15 นิ้วลายใหม่ ไฟหน้าโปรเจกต์เตอร์รมดำ สติ๊กเกอร์ด้านข้างลายใหม่ ไฟเดย์ไทม์รันนิ่งไลท์ที่บิวต์-อินในสเกิร์ตหน้า พร้อมชุดสเกิร์ตและสปอยเลอร์ TRD รอบคัน


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406